About

Thailand has an incredible variety of popular and traditional musics. This website attempts to make Thai music available to people who are not Thai and also aims to facilitate the exchange of information and views between Thais and non-Thais. Within the region of Southeast Asia Thailand (can be debated - I know) has the longest and most stable musical history. The Thai popular music industry is the most developed in the region and has an unbroken history that extends over 100 years (even through WWII). However, Thai music is generally not available outside Thailand and has not made any impression on Western sensibilities. Tourists are often presented with a small section of the Thai royal music traditions (Thai classical or Thai doem - meaning ‘original) through restaurant or theatre performances. Those game enough to venture to Muay Thai competitions will hear the dulcet tones (actually not at all sweet) of the pi , a reed instrument. Expatriates, particularly those living in Isan (Northeast Thailand) or those married to Isan people, will often be aware of Thai folk, especially Lao-Isan morlam , and the more industrialized and spectacular lukthung . Visitors to Thai night clubs may come across some variants of Thai pop and/or the pseudo-protest genre of phleng phuea chiwit or ‘songs for life'.

Overall, however, the rich tapestry of Thai music is not available to non-Thais and the study of Thai music (both popular and traditional) is still in its infancy in comparison to that of China, Japan, Indonesia and India. Even in Thailand, the study of Thai music (usually popular) is often not considered to be a worthwhile activity.

This website hosts articles on various aspects of Thai music, some scholarly and some more popular in approach, lesson plans for high school teachers, and the Thai 78 rpm Discographical Framework. The two main authors are Dr James Mitchell and Peter Garrity. James has studied and published widely on Thai music and Peter is a very well known figure in the Bangkok lukthung concert scene. Comments in Thai or English are encouraged and every effort to facilitate communication through these comments will be made.

We would like to stress that this website is only for educational purposes and is intended to foster a love of Thai music and Thailand. It will never be for commercial purposes. If any copyright owner sees something that belongs to them and would like it removed please contact me through the Contact page and I will remove it immediately.

The authors would like to acknowledge the generous support of the Australian Thai Institute, an Australian government body that seeks to build links between the two countries. It is hoped that this website will indeed forge lasting chains of happiness between Thailand and Australia.

 

เกี่ยวกับคลังดนตรีไทย

ประเทศไทยมีแนวดนตรีที่หลากหลายทั้งดนตรีร่วมสมัยและดนตรีไทยเดิม เว็บไซต์นี้เกิดจึ้นจากความพยายามในการสร้างช่องทางการเข้าถึงดนตรีไทยให้แก่ผู้ที่ไม่ได้เป็นคนไทยและยังเป็นช้องทางในการแลกเปลี่ยนข้อมูลและมุมมองระหว่างคนไทยและคนต่างประเทศ ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้นั้น ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ทางดนตรีที่ยาวนานและมั่นคงที่สุด ( ข้อมูลดังกล่าวทางผู้เขียนเองเข้าใจว่าสามารถที่จะโต้แย้งได้ ) อุตสาหกรรมดนตรีในประเทศไทยนั้นมีการพัฒนามากที่สุดในภูมิภาคและมีประวัติศาสตร์ทียาวนานต่อเนื่องมามากกว่า 100 ปี ( แม้กระทั่งในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2) อย่างไรก็ตาม ดนตรีของไทยนั้น โดยปกติแล้วสามารถที่จะหาฟังได้จากในประเทศเท่านั้นและไม่ได้มีอิทธอพลต่อชาวตะวันตกมากเท่าไหร่ มีการนำเสนอเพลงไทยเดิมส่วนหนึ่งให้กับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติตามภัตตาคารหรือเวทีการแสดง ผู้ที่เข้าชมมวยไทยจะได้ยินเสียงดนตรีที่ไพเราะของปี่ ชางต่างชาติที่อาศัยอยู่ในภาคอีสานหรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือผู้ที่แต่งงานกับคนอีสาน ส่วนใหญ่จะคุ้นเคยกับเพลงไทยตามท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ดนตรีหมอลำ หรือที่ถูกพัฒนามากขึ้นจนมาเป็นเพลงลูกทุ่ง ชาวต่างชาติที่ไปเที่ยวตามไนท์คลับอาจจะมีโอกาสได้ฟังเพลงไทยป๊อบ หรือเพลงที่ถูกจัดอยู่ในแนวเพลงเพื่อชีวิต อย่างไรก็ตาม ดนตรีไทยนั้น ชาวต่างชาติก็ยังไม่สามารถที่จะเข้าถึงได้ และการศึกษาทางด้านดนตรีไทยในประเทศไทยนั้น ยังอยู่เพียงในขั้นเริ่มต้นหากเทียบกับประเทศจีน ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย และอินเดีย แม้แต่ในประเทศไทย การศึกษาเกี่ยวกับดนตรีในประเทศไทยนั้นยังถูกมองว่าเป็นการเสียเวลา

เว็บไซต์ดังกล่าวจะมีบทความหลากหลายชนิดเกี่ยวกับดนตรีไทย ข้อมูลทางด้านวิชาการหรือวิธีการ แม้กระทั่งแผนการเรียนการสอนสำหรับครูในระดับชั้นมัธยม และการรวบรวมผลงานเพลงแผ่นเสียง 78 rpm ผู้เขียนหลักคือ ดร . เจมส์ มิทเชลล์ และ นายปีเตอร์ แกรริตี้ ดร . เจมส์ได้เคยศึกษาและตีพิมพ์ผลงานเกี่ยวกับดนตรีไทย ด้านคุณปีเตอร์นั้นเป็นที่รู้จักกันในคอนเสิร์ทลูกทุ่งที่กรุงเทพฯ คอมเมนท์สามารถที่จะใช้ได้ทั้งภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ

อีกสิ่งหนึ่งที่ต้องการจะเน้นคือเว็บไซท์แห่งนี้สร้างขึ้นเพื่อจุดประสงค์ทางการศึกษาและเพื่อสร้างให้เกิดการรักดนตรีไทยและความรักในประเทศไทย ไม่เคยมีเป้าหมายเพื่อการค้า ถ้าหากว่าเจ้าของลิขสิทธิ์คิดว่าเป็นของท่านและต้องการที่จะเอาออก ขอความกรุณาที่จะติดต่อกับผม ที่ contace เพื่อผมจะเอาออกในทันทีทันใด

ผู้เขียนต้องการที่จะกล่าวถึงการให้การสนับสนุนจากสถาบันออสเตรเลีย - ไทย หนึ่งในหน่วยงานภาครัฐของออสเตรเลีย ในการพยายามสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศ โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเว็บไซต์นี้จะเป็นการหลอมรวมสายใยแห่งความสุขระหว่างประเทศไทยและประเทศออสเตรเลียตลอดไป